บันทึกครั้งที่ 9
วันศุกร์ที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทิน
ความรู้ที่ได้รับ
การจัดประสบการณ์ แบบSTEM
เรื่อง เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
ทักษะทางพื้นฐานคณิตศาสตร์ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอย่างมีวินัยสำคํญทางสถิติ การทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมนั้น ควรเตรียมครีมใส่กรวยเมื่อใกล้จะทำเพราะว่าถ้าทิ้งไว้นานจะทำให้นำ้มันในครีมละลายซึมออกมานอกกรวยที่ใส่ครีมแต่งหน้าเค้กควรมีขนาดที่พอเหมาะกับมือของเด็กเพื่อที่จะได้สะดวกกับเด็กในการทำกิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบมีพัฒนาการด้านอื่นๆของเด็กปฐมวัย เช่น
ด้านความคิดแก้ปัญหา ทักษะทางภาษาส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและลีลามือ การทำกิจกรรมนี้ทำให้เด็กมีความมั่นใจและตั้งใจในการทำกิจกรรม
นำเสนอวิจัย
โดย นาวสาวมาศสุภา วงษ์สรรค์ เลขที่ 23
เรื่อง เรื่อง พัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัยโดยใช้เพลง
ชื่อผู้วิจัย นางสาววรชนีกร พ่วงโพธิ์
ในการส่งเสริมพัฒนาการสติปัญญาของเด็กปฐมวัยนั้นจะแรทรกอยู่ทุกกิจกรรม แต่กิจกรรมที่มีความสนุกสนานและรู้สึกผ่อนคลาย พัฒนาสมอง เพลิดเพลินโดนเด็กไม่รู้เลยว่ากำลังเรียนคณิตศาสตร์อยู่คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและดนตรี เด็กได้เล่นไปพร้อมกับการเคลื่อนไหวและฟังเพลงซึ่งเนื้อหาของเพลงจะสอนเด็กเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเด็กเล็กอนุบาล 1 ซึ่งมีสมาธิไม่มากพอจะจับมานั่งเรียนคณิตศาสตร์
แตงโม
มะพร้าว
ส้มโอ
การจัดประสบการณ์ แบบSTEM
กรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย
สาระที่ 2 การวัด
1. การวัดความยาวของสิ่งต่างๆเป็นการหาความยาวตามแนวนอน / การวัดความสูงเป็นการหาความยาวแนวตั้ง
2. การวัดความยาว / ความสูงของสิ่งของอาจใช้เครื่องมือที่มีหน่วยมาตรฐาน
3. ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า เท่ากัน สูงเท่ากัน เป็นค่าที่ใช้ในเปรียบเทียบความยาวความสูงของสิ่งของต่าๆ
4. การเรียงลำดับความยาว / ความสูง อาจเรียงจากน้อย >> มาก หรือ มาก >> น้อย
5. การชั่งน้ำหนัก ปริมาณน้อยกว่า มากกว่า เท่ากัน เป็นค่าที่ใช้ในการเปรียบเทียบ
6. การตวง
7. ตัวเลขที่อยู่บนธนบัตร
8. เวลาแต่ละวันแบ่งเป็น 2 ช่วง ใหญ่ๆ คือกลางวัน กลางคืน
9. เช้า สาย บ่าย เที่ยง เย็น ค่ำ วันนี้ พรุ่งนี้ เป็นคำที่ใช้บอกเวลา
10. ใน 1 สัปดาห์ มี 7 วัน คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ และเสาร์
สาระที่ 3 เรขาคณิต
1. ข้างบน ข้างล่าง เป็นคำที่ใช้บอกตำแหน่ง ระยะ ทิศทางของสิ่งของต่างๆ
2. การจำแนกวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
สาระที่ 4 พีชคณิต
รูปแบบความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ เช่น การต่อรูปให้เข้าชุดกับแบบที่กำหนด
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
รวบรวมจากการสังเกตุ และสอบถาม
การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิอย่างง่าย
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ใช้นิทานในการสอนบวก ลบจำนวน
ทักษะ
นำเสนอวิจัย
โดย นาวสาวประภัสสร สีหะบุตร เลขที่ 21เรื่อง เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
สรุป
ด้านความคิดแก้ปัญหา ทักษะทางภาษาส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและลีลามือ การทำกิจกรรมนี้ทำให้เด็กมีความมั่นใจและตั้งใจในการทำกิจกรรม
นำเสนอวิจัย
โดย นาวสาวมาศสุภา วงษ์สรรค์ เลขที่ 23
เรื่อง เรื่อง พัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัยโดยใช้เพลง
ชื่อผู้วิจัย นางสาววรชนีกร พ่วงโพธิ์
สรุป
กิจกรรม การสำรวจผลไม้ที่เด็กชอบ
สตอเบอรี่แตงโม
มะพร้าว
ส้มโอ
การฝึกร้องเพลงที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เพลง
มาลีเดินมาเห็นหมาตัวใหญ่
มาลีตกใจร้องให้กลัวหมา
เห็นแมวตัวน้อยค่อยๆก้าวมา
แมวเล็กกว่าหมามาลีไม่กลัว
มาลีเดินมาเห็นหมาตัวใหญ่
มาลีตกใจร้องให้กลัวหมา
เห็นแมวตัวน้อยค่อยๆก้าวมา
แมวเล็กกว่าหมามาลีไม่กลัว
*เนื้อหาในเพลงสามารถนำไปดัดแปลงให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระที่จัดได้ *
วิธีการสอน
อาจารย์มีการใช้คำถาม ให้ข้อเสนอแนะ อธิบายเพิ่มเติมจากการนำเสนอของนักศึกษา และใช้สื่อ power point ในการบรรยาย ทบทวนความรู้เดิม สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
ประเมิน
สภาพห้องเรียน
- เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน อากาศภายในห้องถ่ายเทได้สะดวก
ตนเอง
- เข้าชั้นเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน และจดบันทึก สรุปเนื้อหาที่อาจารย์สอน
เพื่อน
- เข้าชั้นเรียนตรงเวลา และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
อาจารย์
- เข้าสอนตรงต่อเวลา การสอนใช้เสียงดังชัดเจน รูปแบบการสอนไม่น่าเบื่อ สนุกสนาน อธิบายถึงเรื่องต่างๆได้อย่างเข้าใจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น